วันอังคารที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

วันเสาร์ ที่ 18 กุมภาพันธ์ 2555 เรียนชดเชย

การเรียนการสอน

          -   เด็กๆใช้ภาษาเพื่อแสดงออกถึงความคิดความรู้สึกจนถึงการทำความเข้าใจสิ่งแวดล้อมอย่างมมีความหมาย การจัดการเรียนการสอนจึงควรสอดคล้องกับธรรมชาติของคนเราดังกล่าว ดังทัศนะของภาษารวมหรือการเรียนภาษาโดยธรรมชาติซึ่งได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของการสอนภาษาด้วย
          -   ลักษณะของภาษาได้แก่ หัวข้อ เนื้อเรื่อง หรือคววามหมาย ของสารที่จะใช้สื่อกับผู้อื่นประกอบด้วยชื่อคน สัตว์ สิ่งของ เหตุการณ์ ของความสัมพันธ์
          -   รูปแบบของภาษา เสียงสระพยัญชนะ วรรณยุกต์ คำที่มีความหมายและซึ่งประกอบกันด้วย3ส่วน คือ เสียงที่เปล่งออกมาเป็นหน่วยลำดับคำหรือประโยค

 -อาจารย์ให้วาดภาพอะไรก็ได้คนละ  1 ภาพ และอาจารย์ได้ให้นักศึกษาหน้าชั้นเรียนครั้งละ 10 คน เพื่อที่จะให้เล่านิทานจากภาพที่เราวาดแล้วนำมาเล่าต่อกันเป็นเรื่องราว
ภาพ แมว


-อาจารย์ให้วาดรูปแทนคำโดยให้เพื่อนทายว่าที่เราวาดหมายถึงอะไร
กล้วยไข่

หมา

- อาจารย์ให้ทำภาพและคำโดยให้พับครึ่งกระดาษก่อนแล้วแบ่งเป็นสองส่วนโดยส่วนบนให้วาดภาพพร้อมเขียนชื่อของภาพไว้ใต้รูปภาพที่เราวาดและส่วนล่างให้แบ่งช่องว่างให้เท่ากันและเขีียนแต่ละคำลงในช่องว่างที่เราแบ่งไว้ตามคำที่เราเขียนไว้ด้านบนตามที่เราวาด

- อาจารย์ให้เรียนรู้เรื่องรูปแบบของภาษา เสียงพยัญชนะ และ เสียงสระ

- อาจารย์ให้ดูนิทาน



    

- อาจารย์ให้เขียนพยัญชนะไทยและอาจารย์แบ่งกลุ่มละ 9 - 10 คนโดยให้แต่ละกลุ่มทำเกี่ยวกับอักษรต่ำ-สูงโดยดิฉันได้เขียนตัวอักษรและอาจารย์ให้แต่ละกลุ่มเขียนสระที่อยู่ข้างหน้าว่ามีอะไรบ้าง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น